Source code
Revision control
Copy as Markdown
Other Tools
<!DOCTYPE html>
<html>
<head>
<meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=UTF-8">
</head>
<body dir="ltr">
<h3 style="text-align:center">Universal Declaration of Human Rights - Thai</h3>
<p>© 1996 – 2009 The Office of the High Commissioner for Human Rights</p>
<p>This HTML version prepared by the <i>UDHR in Unicode</i> project, <a href="https://www.unicode.org/udhr">http://www.unicode.org/udhr</a>.</p>
<hr>
<p style="color:red; background:yellow">NOTE: Spaces within Thai content were removed for testing purposes.</p>
<div xml:lang="th" dir="ltr" lang="th">
<h3>ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน</h3>
<p>ได้รับการรับรองและประกาศโดยข้อมติสมัชชาสหประชาชาติที่ 217 เอ (III) วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491</p>
<h4>อารัมภบท</h4>
<p>โดยที่การยอมรับศักดิ์ศรีแต่กำเนิดและสิทธิที่เท่าเทียมกันและที่ไม่อาจ
เพิกถอนได้ของสมาชิกทั้งมวลแห่งครอบครัวมนุษยชาติเป็นพื้นฐานแห่งอิสรภาพ
ความยุติธรรมและสันติภาพในโลก</p>
<p>โดยที่การไม่นำพาและการหมิ่นในคุณค่าของสิทธิมนุษยชนยังผลให้มีการกระทำ
อันป่าเถื่อนซึ่งเป็นการขัดอย่างร้ายแรงต่อมโนธรรมของมนุษยชาติและการมาถึง
ของโลกที่ได้มีการประกาศให้ความมีอิสรภาพในการพูดและความเชื่อและอิสรภาพจาก
ความหวาดกลัวและความต้องการของมนุษย์เป็นความปรารถนาสูงสุดของประชาชนทั่วไป</p>
<p>โดยที่เป็นการจำเป็นที่สิทธิมนุษยชนควรได้รับความคุ้มครองโดยหลัก
นิติธรรมถ้าจะไม่บังคับให้คนต้องหันเข้าหาการลุกขึ้นต่อต้านทรราชและการกด
ขี่เป็นวิถีทางสุดท้าย</p>
<p>โดยที่เป็นการจำเป็นที่จะส่งเสริมพัฒนาการแห่งความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างชาติต่างๆ</p>
<p>โดยที่ประชาชนแห่งสหประชาชาติได้ยืนยันอีกครั้งไว้ในกฎบัตรถึงศรัทธาใน
สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานในศักดิ์ศรีและค่าของมนุษย์และในสิทธิที่เท่าเทียม
กันของบรรดาชายและหญิงและได้มุ่งมั่นที่จะส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคมและ
มาตรฐานแห่งชีวิตที่ดีขึ้นในอิสรภาพอันกว้างขวางยิ่งขึ้น</p>
<p>โดยที่รัฐสมาชิกต่างปฏิญาณที่จะบรรลุถึงซึ่งการส่งเสริมการเคารพและการ
ยึดถือสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพขั้นพื้นฐานโดยสากลโดยความร่วมมือกับสหประชา
ชาติ</p>
<p>โดยที่ความเข้าใจร่วมกันในสิทธิและอิสรภาพเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญที่สุดเพื่อให้ปฏิญาณนี้สำเร็จผลเต็มบริบูรณ์</p>
<p>ฉะนั้นบัดนี้สมัชชาจึงประกาศปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ให้เป็น
มาตรฐานร่วมกันแห่งความสำเร็จสำหรับประชาชนทั้งมวลและประชาชาติทั้งหลาย
เพื่อจุดมุ่งหมายที่ว่าปัจเจกบุคคลทุกคนและทุกส่วนของสังคมโดยการคำนึงถึง
ปฏิญญานี้เป็นเนืองนิตย์จะมุ่งมั่นส่งเสริมการเคารพสิทธิและอิสรภาพเหล่านี้
ด้วยการสอนและการศึกษาและให้มีการยอมรับและยึดถือโดยสากลอย่างมีประสิทธิผล
ด้วยมาตรการแห่งชาติและระหว่างประเทศอันก้าวหน้าตามลำดับทั้งในบรรดาประชาชน
ของรัฐสมาชิกด้วยกันเองและในบรรดาประชาชนของดินแดนที่อยู่ใต้เขตอำนาจแห่ง
รัฐนั้น</p>
<h4>ข้อ1</h4>
<p>มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรีและสิทธิต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรมและควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ</p>
<h4>ข้อ2</h4>
<p>ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพทั้งปวงตามที่กำหนดไว้ในปฏิญญานี้โดยปราศจาก
การแบ่งแยกไม่ว่าชนิดใดอาทิเชื้อชาติผิวเพศภาษาศาสนาความคิดเห็นทางการเมือง
หรือทางอื่นพื้นเพทางชาติหรือสังคมทรัพย์สินการเกิดหรือสถานะอื่นนอกเหนือ
จากนี้จะไม่มีการแบ่งแยกใดบนพื้นฐานของสถานะทางการเมืองทางกฎหมายหรือทางการ
ระหว่างประเทศของประเทศหรือดินแดนที่บุคคลสังกัดไม่ว่าดินแดนนี้จะเป็น
เอกราชอยู่ในความพิทักษ์มิได้ปกครองตนเองหรืออยู่ภายใต้การจำกัดอธิปไตยอื่น
ใด</p>
<h4>ข้อ3</h4>
<p>ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตเสรีภาพและความมั่นคงแห่งบุคคล</p>
<h4>ข้อ4</h4>
<p>บุคคลใดจะตกอยู่ในความเป็นทาสหรือสภาวะจำยอมไม่ได้ทั้งนี้ห้ามความเป็นทาสและการค้าทาสทุกรูปแบบ</p>
<h4>ข้อ5</h4>
<p>บุคคลใดจะถูกกระทำการทรมานหรือการปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรีไม่ได้</p>
<h4>ข้อ6</h4>
<p>ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการยอมรับทุกแห่งหนว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย</p>
<h4>ข้อ7</h4>
<p>ทุกคนเสมอภาคกันตามกฎหมายและมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองของกฎหมาย
เท่าเทียมกันโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใดทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้ม
ครองเท่าเทียมกันจากการเลือกปฏิบัติใดอันเป็นการล่วงละเมิดปฏิญญานี้และจาก
การยุยงให้มีการเลือกปฏิบัติดังกล่าว</p>
<h4>ข้อ8</h4>
<p>ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาอันมีประสิทธิผลจากศาลที่มีอำนาจแห่ง
รัฐต่อการกระทำอันล่วงละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานซึ่งตนได้รับตามรัฐธรรมนูญหรือ
กฎหมาย</p>
<h4>ข้อ9</h4>
<p>บุคคลใดจะถูกจับกุมกักขังหรือเนรเทศตามอำเภอใจไม่ได้</p>
<h4>ข้อ10</h4>
<p>ทุกคนย่อมมีสิทธิในความเสมอภาคอย่างเต็มที่ในการได้รับการพิจารณาคดีที่
เป็นธรรมและเปิดเผยจากศาลที่อิสระและไม่ลำเอียงในการพิจารณากำหนดสิทธิและ
หน้าที่ของตนและข้อกล่าวหาอาญาใดต่อตน</p>
<h4>ข้อ11</h4>
<p>1.ทุกคนที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดทางอาญามีสิทธิที่จะได้รับการสันนิษฐาน
ไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่ามีความผิดตามกฎหมายในการพิจารณา
คดีที่เปิดเผยซึ่งตนได้รับหลักประกันที่จำเป็นทั้งปวงสำหรับการต่อสู้คดี</p>
<p>2.บุคคลใดจะถูกตัดสินว่ามีความผิดทางอาญาใดอันเนื่องจากการกระทำหรือ
ละเว้นใดอันมิได้ถือว่าเป็นความผิดทางอาญาตามกฎหมายแห่งชาติหรือกฎหมาย
ระหว่างประเทศในขณะที่ได้กระทำการนั้นไม่ได้และจะกำหนดโทษที่หนักกว่าที่
บังคับใช้ในขณะที่ได้กระทำความผิดทางอาญานั้นไม่ได้</p>
<h4>ข้อ12</h4>
<p>บุคคลใดจะถูกแทรกแซงตามอำเภอใจในความเป็นส่วนตัวครอบครัวที่อยู่อาศัย
หรือการสื่อสารหรือจะถูกลบหลู่เกียรติยศและชื่อเสียงไม่ได้ทุกคนมีสิทธิที่
จะได้รับความคุ้มครองของกฎหมายต่อการแทรกแซงสิทธิหรือการลบหลู่ดังกล่าวนั้น</p>
<h4>ข13</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิในอิสรภาพแห่งการเคลื่อนย้ายและการอยู่อาศัยภายในพรมแดนของแต่ละรัฐ</p>
<p>2.ทุกคนมีสิทธิที่จะออกนอกประเทศใดรวมทั้งประเทศของตนเองและสิทธิที่จะกลับสู่ประเทศตน</p>
<h4>ข้อ14</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิที่จะแสวงหาและที่จะได้ที่ลี้ภัยในประเทศอื่นจากการประหัตประหาร</p>
<p>2.สิทธินี้จะยกขึ้นกล่าวอ้างกับกรณีที่การดำเนินคดีที่เกิดขึ้นโดยแท้จาก
ความผิดที่มิใช่ทางการเมืองหรือจากการกระทำอันขัดต่อวัตถุประสงค์และหลักการ
ของสหประชาชาติไม่ได้</p>
<h4>ข้อ15</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิในสัญชาติหนึ่ง</p>
<p>2.บุคคลใดจะถูกเพิกถอนสัญชาติของตนตามอำเภอใจหรือถูกปฏิเสธสิทธิที่จะเปลี่ยนสัญชาติของตนไม่ได้</p>
<h4>ข้อ16</h4>
<p>1.บรรดาชายและหญิงที่มีอายุครบบริบูรณ์แล้วมีสิทธิที่จะสมรสและก่อร่าง
สร้างครอบครัวโดยปราศจากการจำกัดใดอันเนื่องจากเชื้อชาติสัญชาติหรือศาสนา
ต่างย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกันในการสมรสระหว่างการสมรสและในการขาดจากการสมรส</p>
<p>2.การสมรสจะกระทำโดยความยินยอมอย่างอิสระและเต็มที่ของผู้ที่จะเป็นคู่สมรสเท่านั้น</p>
<p>3.ครอบครัวเป็นหน่วยธรรมชาติและพื้นฐานของสังคมและย่อมมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองจากสังคมและรัฐ</p>
<h4>ข้อ17</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิที่จะเป็นเจ้าของทรัพย์สินโดยตนเองและโดยร่วมกับผู้อื่น</p>
<p>2.บุคคลใดจะถูกเอาทรัพย์สินไปจากตนตามอำเภอใจไม่ได้</p>
<h4>ข้อ18</h4>
<p>ทุกคนมีสิทธิในอิสรภาพแห่งความคิดมโนธรรมและศาสนาทั้งนี้สิทธินี้รวมถึง
อิสรภาพในการเปลี่ยนศาสนาหรือความเชื่อและอิสรภาพในการแสดงออกทางศาสนาหรือ
ความเชื่อถือของตนในการสอนการปฏิบัติการสักการะบูชาและการประกอบพิธีกรรมไม่
ว่าจะโดยลำพังหรือในชุมชนร่วมกับผู้อื่นและในที่สาธารณะหรือส่วนบุคคล</p>
<h4>ข้อ19</h4>
<p>ทุกคนมีสิทธิในอิสรภาพแห่งความเห็นและการแสดงออกทั้งนี้สิทธินี้รวมถึง
อิสรภาพที่จะถือเอาความเห็นโดยปราศจากการแทรกแซงและที่จะแสวงหารับและส่ง
ข้อมูลข่าวสารและข้อคิดผ่านสื่อใดและโดยไม่คำนึงถึงพรมแดน</p>
<h4>ข้อ20</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิในอิสรภาพแห่งการชุมนุมและการสมาคมโดยสันติ</p>
<p>2.บุคคลใดไม่อาจถูกบังคับให้สังกัดสมาคมหนึ่งได้</p>
<h4>ข้อ21</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิที่จะมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศตนโดยตรงหรือผ่านผู้แทนซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยอิสระ</p>
<p>2.ทุกคนมีสิทธิที่จะเข้าถึงบริการสาธารณะในประเทศตนโดยเสมอภาค</p>
<p>3.เจตจำนงของประชาชนจะต้องเป็นพื้นฐานแห่งอำนาจการปกครองทั้งนี้เจตจำนง
นี้จะต้องแสดงออกทางการเลือกตั้งตามกำหนดเวลาและอย่างแท้จริงซึ่งต้องเป็น
การออกเสียงอย่างทั่วถึงและเสมอภาคและต้องเป็นการลงคะแนนลับหรือวิธีการลง
คะแนนโดยอิสระในทำนองเดียวกัน</p>
<h4>ข้อ22</h4>
<p>ทุกคนในฐานะสมาชิกของสังคมมีสิทธิในหลักประกันทางสังคมและย่อมมีสิทธิใน
การบรรลุสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมอันจำเป็นยิ่งสำหรับศักดิ์ศรีของ
ตนและการพัฒนาบุคลิกภาพของตนอย่างอิสระผ่านความพยายามของรัฐและความร่วมมือ
ระหว่างประเทศและตามการจัดการและทรัพยากรของแต่ละรัฐ</p>
<h4>ข้อ23</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิในการทำงานในการเลือกงานโดยอิสระในเงื่อนไขที่ยุติธรรมและเอื้ออำนวยต่อการทำงานและในการคุ้มครองต่อการว่างงาน</p>
<p>2.ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับค่าจ้างที่เท่าเทียมกันสำหรับงานที่เท่าเทียมกันโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด</p>
<p>3.ทุกคนที่ทำงานมีสิทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเอื้ออำนวยต่อ
การประกันความเป็นอยู่อันควรค่าแก่ศักดิ์ศรีของมนุษย์สำหรับตนเองและครอบ
ครัวและหากจำเป็นก็จะได้รับการคุ้มครองทางสังคมในรูปแบบอื่นเพิ่มเติมด้วย</p>
<p>4.ทุกคนมีสิทธิที่จะจัดตั้งและที่จะเข้าร่วมสหภาพแรงงานเพื่อความคุ้มครองผลประโยชน์ของตน</p>
<h4>ข้อ24</h4>
<p>ทุกคนมีสิทธิในการพักผ่อนและการผ่อนคลายยามว่างรวมทั้งจำกัดเวลาทำงานตามสมควรและวันหยุดเป็นครั้งคราวโดยได้รับค่าจ้าง</p>
<h4>ข้อ25</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิในมาตรฐานการครองชีพอันเพียงพอสำหรับสุขภาพและความอยู่ดี
ของตนและของครอบครัวรวมทั้งอาหารเครื่องนุ่งห่มที่อยู่อาศัยและการดูแลรักษา
ทางการแพทย์และบริการสังคมที่จำเป็นและมีสิทธิในหลักประกันยามว่างงานเจ็บ
ป่วยพิการหม้ายวัยชราหรือปราศจากการดำรงชีพอื่นในสภาวะแวดล้อมนอกเหนือการ
ควบคุมของตน</p>
<p>2.มารดาและเด็กย่อมมีสิทธิที่จะรับการดูแลรักษาและการช่วยเหลือเป็นพิเศษ
เด็กทั้งปวงไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกสมรสจะต้องได้รับการคุ้มครองทางสังคมเช่น
เดียวกัน</p>
<h4>ข้อ26</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิในการศึกษาการศึกษาจะต้องให้เปล่าอย่างน้อยในขั้นประถม
ศึกษาและขั้นพื้นฐานการศึกษาระดับประถมจะต้องเป็นภาคบังคับการศึกษาด้าน
วิชาการและวิชาชีพจะต้องเปิดเป็นการทั่วไปและการศึกษาระดับสูงขึ้นไปจะต้อง
เข้าถึงได้อย่างเสมอภาคสำหรับทุกคนบนพื้นฐานของคุณสมบัติความเหมาะสม</p>
<p>2.การศึกษาจะต้องมุ่งไปสู่การพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างเต็มที่และการ
เสริมสร้างความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพขั้นพื้นฐานการศึกษาจะต้องส่ง
เสริมความเข้าใจขันติธรรมและมิตรภาพระหว่างประชาชาติกลุ่มเชื้อชาติหรือ
ศาสนาทั้งมวลและจะต้องส่งเสริมกิจกรรมของสหประชาชาติเพื่อการธำรงไว้ซึ่ง
สันติภาพ</p>
<p>3.ผู้ปกครองมีสิทธิเบื้องแรกที่จะเลือกประเภทการศึกษาที่จะให้แก่บุตรของตน</p>
<h4>ข้อ27</h4>
<p>1.ทุกคนมีสิทธิที่จะเข้าร่วมโดยอิสระในชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชนที่จะ
เพลิดเพลินกับศิลปะและมีส่วนในความรุดหน้าและคุณประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์</p>
<p>2.ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองผลประโยชน์ทางจิตใจและทางวัตถุอัน
เป็นผลจากประดิษฐกรรมใดทางวิทยาศาสตร์วรรณกรรมและศิลปกรรมซึ่งตนเป็นผู้
สร้าง</p>
<h4>ข้อ28</h4>
<p>ทุกคนย่อมมีสิทธิในระเบียบทางสังคมและระหว่างประเทศซึ่งจะเป็นกรอบให้บรรลุสิทธิและอิสรภาพที่กำหนดไว้ในปฏิญญานี้อย่างเต็มที่</p>
<h4>ข้อ29</h4>
<p>1.ทุกคนมีหน้าที่ต่อชุมชนซึ่งการพัฒนาบุคลิกภาพของตนโดยอิสระและเต็มที่จะกระทำได้ก็แต่ในชุมชนเท่านั้น</p>
<p>2.ในการใช้สิทธิและอิสรภาพของตนทุกคนจะต้องอยู่ภายใต้ข้อจำกัดเพียงเท่า
ที่มีกำหนดไว้ตามกฎหมายเท่านั้นเพื่อวัตถุประสงค์ของการได้มาซึ่งการยอมรับ
และการเคารพสิทธิและอิสรภาพอันควรของผู้อื่นและเพื่อให้สอดรับกับความต้อง
การอันสมควรทางด้านศีลธรรมความสงบเรียบร้อยของประชาชนและสวัสดิการทั่วไปใน
สังคมประชาธิปไตย</p>
<p>3.สิทธิและอิสรภาพเหล่านี้ไม่อาจใช้ขัดต่อวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติไม่ว่าในกรณีใด</p>
<h4>ข้อ30</h4>
<p>ไม่มีบทใดในปฏิญญานี้ที่อาจตีความได้ว่าเป็นการให้สิทธิใดแก่รัฐกลุ่มคน
หรือบุคคลใดในการดำเนินกิจกรรมใดหรือกระทำการใดอันมุ่งต่อการทำลายสิทธิและ
อิสรภาพใดที่กำหนดไว้ณที่นี้</p>
</div><hr>
</body>
</html>